ศูนย์ความรู้

รู้หรือไม่.. องค์กรแบบไหนถึงเรียกว่าเป็น “หน่วยงานของรัฐ” ?

13 มิ.ย. 2566
0

รู้หรือไม่.. องค์กรแบบไหนถึงเรียกว่าเป็น “หน่วยงานของรัฐ” ?
         แล้วประเภทหน่วยงานของรัฐมีอะไรบ้าง ?
         แต่ละประเภทมีลักษณะแตกต่างกันอย่างไร ?

         หลักเกณฑ์การพิจารณาการเป็นหน่วยงานของรัฐ ซึ่งพิจารณาจาก

          – ความสัมพันธ์กับรัฐ
          – ภารกิจ/กิจกรรม
          – งบประมาณ
          – สถานะบุคลากร
          – วิธีการในการทำภารกิจ/กิจกรรม
          – ความเป็นเจ้าของ/อำนาจการบริหารจัดการ (การเข้าไปมีส่วนร่วมของรัฐในภาพรวม)

         ประเภทหน่วยงานของรัฐในกำกับของฝ่ายบริหารในปัจจุบัน แบ่งเป็น 4 ประเภท

          – ส่วนราชการ
          – รัฐวิสาหกิจ
          – องค์การมหาชน
          – หน่วยงานของรัฐรูปแบบใหม่

         โดยหน่วยงานแต่ละประเภทมีความแตกต่างกันในลักษณะการบริหารงาน/การดำเนินกิจการ/ให้บริการสาธารณะ

         ที่มา: หลักการจำแนกประเภทหน่วยงานของรัฐในกำกับของฝ่ายบริหาร ตามมติ ครม. 20 ต.ค. 2552

         >> สืบค้นข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ : shorturl.at/bco29

องค์กรแบบไหนถึงเรียกว่าเป็น…หน่วยงานของรัฐ

13 มิ.ย. 2566
440 KB
0 ครั้ง
ดาวน์โหลด

ลักษณะหน่วยงานของรัฐ ในกำกับของฝ่ายบริหาร

13 มิ.ย. 2566
441 KB
0 ครั้ง
ดาวน์โหลด

เราใช้คุกกี้เพื่อพัฒนาประสิทธิภาพ และประสบการณ์ที่ดีในการใช้เว็บไซต์ของคุณ คุณสามารถศึกษารายละเอียดได้ที่ นโยบายคุ้กกี้ และสามารถจัดการความเป็นส่วนตัวเองได้ของคุณได้เองโดยคลิกที่ปุ่มตั้งค่า

ตั้งค่าความเป็นส่วนตัว

คุณสามารถเลือกการตั้งค่าคุกกี้โดยเปิด/ปิด คุกกี้ในแต่ละประเภทได้ตามความต้องการ ยกเว้น คุกกี้ที่จำเป็น

ยอมรับทั้งหมด
จัดการความเป็นส่วนตัว
  • คุกกี้ที่จำเป็น
    เปิดใช้งานตลอด

    คุกกี้ประเภทนี้มีความจำเป็นต่อการให้บริการเว็บไซต์ของ สำนักงาน ก.พ.ร. เพื่อให้ท่านสามารถเข้าใช้งานในส่วนต่าง ๆ ของเว็บไซต์ได้ รวมถึงช่วยจดจำข้อมูลที่ท่านเคยให้ไว้ผ่านเว็บไซต์ การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ท่านไม่สามารถใช้บริการในสาระสำคัญของ สำนักงาน ก.พ.ร. ซึ่งจำเป็นต้องเรียกใช้คุกกี้ได้

  • คุกกี้เพื่อการวิเคราะห์และประเมินผลการใช้งาน (Performance Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้ช่วยให้ ก.พ.ร. ทราบถึงการปฏิสัมพันธ์ของผู้ใช้งานในการใช้บริการเว็บไซต์ของ ก.พ.ร. รวมถึงหน้าเพจหรือพื้นที่ใดของเว็บไซต์ที่ได้รับความนิยม ตลอดจนการวิเคราะห์ข้อมูลด้านอื่น ๆ ก.พ.ร. ยังใช้ข้อมูลนี้เพื่อการปรับปรุงการทำงานของเว็บไซต์ และเพื่อเข้าใจพฤติกรรมของผู้ใช้งานมากขึ้น ถึงแม้ว่า ข้อมูลที่คุกกี้นี้เก็บรวบรวมจะเป็นข้อมูลที่ไม่สามารถระบุตัวตนได้ และนำมาใช้วิเคราะห์ทางสถิติเท่านั้น การปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะส่งผลให้ ก.พ.ร. ไม่สามารถทราบปริมาณผู้เข้าเยี่ยมชมเว็บไซต์ และไม่สามารถประเมินคุณภาพการให้บริการได้

  • คุกกี้เพื่อการโฆษณาไปยังกลุ่มเป้าหมาย (Targeting Cookies)

    คุกกี้ประเภทนี้เป็นคุกกี้ที่เกิดจากการเชื่อมโยงเว็บไซต์ของบุคคลที่สาม ซึ่งเก็บข้อมูลการเข้าใช้งานและเว็บไซต์ที่ท่านได้เข้าเยี่ยมชม เพื่อนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่นที่ไม่ใช่เว็บไซต์ของ ก.พ.ร. ทั้งนี้ หากท่านปิดการใช้งานคุกกี้ประเภทนี้จะไม่ส่งผลต่อการใช้งานเว็บไซต์ของ ก.พ.ร. แต่จะส่งผลให้การนำเสนอสินค้าหรือบริการบนเว็บไซต์อื่น ๆ ไม่สอดคล้องกับความสนใจของท่าน

บันทึกการตั้งค่า